|
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบลฝายแก้ว
“ตำบลน่าอยู่คู่ป่าต้นน้าสุขภาพดีการศึกษาเด่นเน้นโครงสร้างพื้นฐานบริหารตามหลักธรรมาภิบาล”
1.2 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ด้านการพัฒนาคนและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ด้านการเมืองและการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.3 เป้าประสงค์
1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคนและสังคม
เป้าประสงค์ : ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นและเป็นชุมชนที่ปลอดสารเสพติดประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นความรู้ความชำนาญในการประกอบอาชีพมีความรู้มีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้นภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่นได้รับการสืบทอดและประชานในท้องถิ่นมีสุขภาพอนามัยที่ดี
2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ : แหล่งน้าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการอนุรักษ์
3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร
เป้าประสงค์ : ประชาชนมีความพึงพอใจการบริหารโปร่งใสมีความเป็นประชาธิปไตย
4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เป้าประสงค์ : มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่ครอบคลุมทั่วถึงเพียงพอตามความต้องการของประชาชน
1.4 ตัวชี้วัด
1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคนและสังคม
ตัวชี้วัด : จำนวนคนประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการอนุรักษ์พัฒนาและส่งเสริม
2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนและประชาชนได้รับความปลอดภัย
3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร
ตัวชี้วัด : เป็นศูนย์กลางชุมชน
4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความพึงพอใจในการบริการสาธารณะ
1.5 ค่าเป้าหมาย
1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคนและสังคม มีค่าเป้าหมาย คือ
- ร้อยละของการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง
- ร้อยละจำนวนประชากรเจ็บป่วยน้อยลง
- ร้อยละของประชาชนเข้าถึงกองทุนสวัสดิการชุมชน
- ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้พิการที่ขาดคนดูแลได้รับการดูแล
- จำนวนครัวเรือนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- ร้อยละของประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
- ร้อยละของประชาชนมีเงินออมเพิ่มขึ้น
- ร้อยละของประชาชนมีความสามารถในการชาระหนี้สูงขึ้น
- ร้อยละของประชาชนมีอาหารโปรตีนเพิ่มมากขึ้น
- ร้อยละของสถาบันการเงินในระดับตำบลมีความเข้มแข็ง
- ร้อยละจำนวนแหล่งท่องเที่ยวมีเพิ่มขึ้น
- ร้อยละประชากรตั้งแต่ 3 – 60 ปี
- ร้อยละของภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์เพิ่มมากขึ้น
- ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงหลังจากที่ได้รับการตรวจคัดกรองแล้วเข้าสู่คลินิกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(DPAC) เพิ่มขึ้น
- ร้อยละของประชาชนได้รับการคัดกรองสุขภาพ
- ร้อยละ100 ของประชากรมีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีค่าเป้าหมาย คือ
- ร้อยละของครัวเรือนมีน้าประปาที่สะอาดปลอดภัยและเพียงพอ
- จำนวนหมู่บ้านมีบ่อน้าดิบและบ่อน้าตื้นเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอ
- ร้อยละของจำนวนพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น
- ร้อยละของการเกิดภัยต่างๆลดลง
- ร้อยละของจำนวนขยะลดลง
- ร้อยละของพื้นที่ป่าใหม่เพิ่มขึ้น
3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหารมีค่าเป้าหมาย คือ
- ร้อยละของจำนวนผู้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น
- ร้อยละจำนวนประชาชนที่พึงพอใจเพิ่มขึ้น
- จำนวนบุคลากรได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น
- ร้อยละของการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น
4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานมีค่าเป้าหมาย คือ
- ร้อยละของครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้
- ร้อยละของครัวเรือนมีน้ำประปาที่สะอาดปลอดภัยและเพียงพอ
- จำนวนหมู่บ้านมีบ่อน้ำดิบและบ่อน้ำตื้นเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอ
- ร้อยละของทุกสายในหมู่บ้านมีความปลอดภัย
- ร้อยละของถนนคสล.ครบทุกซอยในหมู่บ้าน
1.6 กลยุทธ์
1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคนและสังคม มีกลยุทธ์ คือ
1.การส่งเสริมสุขภาพ
2.การป้องกันโรค
3.การส่งเสริมพัฒนาคนและสวัสดิการชุมชน
4.ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด
5.ส่งเสริมพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
6.ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
7.พัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
8.ส่งเสริมการศึกษา
9.สืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
10.ส่งเสริมการออกกาลังกาย
11.ส่งเสริมการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีกลยุทธ์ คือ
1.การจัดการแหล่งน้าให้เพียงพอแก่การอุปโภคบริโภค
2.ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
4.การกาจัดขยะและสิ่งปฏิกูล
5.การลดภาวะโลกร้อน
3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหารมีกลยุทธ์ คือ
1.การบริหารจัดการ
4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานมีกลยุทธ์ คือ
1.การพัฒนาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอย่างทั่วถึง
2.ก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมถนนให้ได้มาตรฐานและทั่วถึง